วันจันทร์ที่ 1 มิถุนายน พ.ศ. 2558
ซอฟเเวร์
ความ
จำ
เป็น
ของ
การ
ใช้
ซอฟต์แวร์
ซอฟต์แวร์ (software) หมาย
ถึง
ชุด
คำ
สั่ง
หรือ
โปรแกรม
ที่
ใช้
สั่ง
งาน
ให้
คอมพิวเตอร์
ทำ
งาน ซอฟต์แวร์จึง
หมาย
ถึง
ลำ
ดับ
ขั้น
ตอน
การ
ทำ
งาน
ที่
เขียน
ขึ้น
ด้วย
คำ
สั่ง
ของ
คอมพิวเตอร์ คำ
สั่ง
เหล่า
นี้
เรียง
กัน
เป็น
โปรแกรม
คอมพิวเตอร์ จาก
ที่
ทราบ
มา
แล้ว
ว่า
คอมพิวเตอร์
ทำ
งาน
ตาม
คำ
สั่ง การ
ทำ
งาน
พื้น
ฐาน
เป็น
เพียง
การก
ระ
ทำกับข้อ
มูล
ที่
เป็น
ตัว
เลข
ฐาน
สอง ซึ่ง
ใช้
แทน
ข้อ
มูล
ที่
เป็น
ตัว
เลข ตัว
อักษร รูป
ภาพ หรือ
แม้
แต่
เป็น
เสียง
พูด
ก็
ได้
โปรแกรม
คอมพิวเตอร์
ที่
ใช้
สั่ง
งาน
คอมพิวเตอร์
จึง
เป็น
ซอฟต์แวร์ เพราะ
เป็น
ลำ
ดับ
ขั้น
ตอน
การ
ทำ
งาน
ของ
คอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์เครื่องหนึ่ง
ทำ
งาน
แตก
ต่าง
กัน
ได้
มาก
มาย
ด้วย
ซอฟต์แวร์ที่
แตก
ต่าง
กัน ซอฟต์แวร์จึง
หมาย
รวม
ถึง
โปรแกรม
คอมพิวเตอร์
ทุก
ประเภท
ที่
ทำ
ให้
คอมพิวเตอร์
ทำ
งาน
ได้
การ
ที่
เรา
เห็น
คอมพิวเตอร์
ทำ
งาน
ให้กับเรา
ได้
มาก
มาย เพราะ
ว่า
มี
ผู้
พัฒนา
โปรแกรม
คอมพิวเตอร์
มา
ให้
เรา
สั่ง
งาน
คอมพิวเตอร์ ร้าน
ค้า
อาจ
ใช้
คอมพิวเตอร์
ทำ
บัญชี
ที่
ยุ่ง
ยาก
ซับ
ซ้อน บริษัท
ขาย
ตั๋ว
ใช้
คอมพิวเตอร์
ช่วย
ใน
ระบบ
การ
จอง
ตั๋ว คอมพิวเตอร์
ช่วย
ใน
เรื่อง
กิจ
การ
งาน
ธนาคาร
ที่
มี
ข้อ
มูล
ต่าง ๆ มาก
มาย คอมพิวเตอร์
ช่วย
งาน
พิมพ์
เอก
สาร
ให้
สวย
งาม เป็น
ต้น การ
ที่
คอมพิวเตอร์
ดำ
เนิน
การ
ให้
ประ
โยชน์
ได้
มาก
มาย
มหาศาล
จะ
อยู่
ที่
ซอฟต์แวร์ ซอฟต์แวร์จึง
เป็น
ส่วน
สำคัญ
ของ
ระบบ
คอมพิวเตอร์ หาก
ขาด
ซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์
ก็
ไม่
สามารถ
ทำ
งาน
ได้ ซอฟต์แวร์จึง
เป็น
สิ่ง
ที่
จำ
เป็น และ
มี
ความ
สำคัญ
มาก และ
เป็น
ส่วน
ประกอบ
หนึ่ง
ที่
ทำ
ให้
ระบบ
สาร
สนเทศ
เป็น
ไป
ได้
ตาม
ที่
ต้อง
การ
ซอฟท์แวร์
และ
ภาษา
คอมพิวเตอร์
เมื่อ
มนุษย์
ต้อง
การ
ใช้
คอมพิวเตอร์
ช่วย
ใน
การ
ทำ
งาน มนุษย์
จะ
ต้อง
บอก
ขั้น
ตอน
วิธี
การ
ให้
คอมพิวเตอร์
ทราบ การ
ที่
บอก
สิ่ง
ที่
มนุษย์
เข้า
ใจ
ให้
คอมพิวเตอร์
รับ
รู้ และ
ทำ
งาน
ได้
อย่าง
ถูก
ต้อง จำ
เป็น
ต้อง
มี
สื่อ
กลาง ถ้า
เปรียบ
เทียบกับชีวิต
ประจำ
วัน
แล้ว เรา
มี
ภาษา
ที่
ใช้
ใน
การ
ติด
ต่อ
ซึ่ง
กัน
และ
กัน เช่น
เดียว
กัน
ถ้า
มนุษย์
ต้อง
การ
จะ
ถ่าย
ทอด
ความ
ต้อง
การ
ให้
คอมพิวเตอร์
รับ
รู้
และ
ปฏิบัติ
ตา
ม จะ
ต้อง
มี
สื่อ
กลาง
สำหรับ
การ
ติด
ต่อ
เพื่อ
ให้
คอมพิวเตอร์
รับ
รู้ เรา
เรียก
สื่อ
กลาง
นี้
ว่า
ภาษา
คอมพิวเตอร์
เนื่อง
จาก
คอมพิวเตอร์
ทำ
งาน
ด้วย
สัญญาณ
ทางไฟ
ฟ้า ใช้
แทน
ด้วย
ตัว
เลข 0 และ 1 ได้ ผู้
ออก
แบบ
คอมพิวเตอร์
ใช้
ตัว
เลข 0 และ 1 นี้
เป็น
รหัส
แทน
คำ
สั่ง
ใน
การ
สั่ง
งาน
คอมพิวเตอร์ รหัส
แทน
ข้อ
มูล
และ
คำ
สั่ง
โดย
ใช้
ระบบ
เลข
ฐาน
สอง
นี้ คอมพิวเตอร์
สามารถ
เข้า
ใจ
ได้ เรา
เรียก
เลข
ฐาน
สอง
ที่
ประกอบ
กัน
เป็น
ชุด
คำ
สั่ง
และ
ใช้
สั่ง
งาน
คอมพิวเตอร์
ว่า
ภาษาเครื่อ
ง
การ
ใช้
ภาษาเครื่องนี้
ถึง
แม้
คอมพิวเตอร์
จะ
เข้า
ใจ
ได้
ทัน
ที แต่
มนุษย์
ผู้
ใช้
จะ
มี
ข้อ
ยุ่ง
ยาก
มาก เพราะ
เข้า
ใจ
และ
จด
จำ
ได้
ยาก จึง
มี
ผู้
สร้าง
ภาษา
คอมพิวเตอร์
ใน
รูป
แบบ
ที่
เป็น
ตัว
อักษร เป็น
ประโยค
ข้อ
ความ ภาษา
ใน
ลักษณะ
ดัง
กล่าว
นี้
เรียก
ว่า ภาษา
คอมพิวเตอร์
ระดับ
สูง ภาษา
ระดับ
สูง
มี
อยู่
มาก
มาย บาง
ภาษา
มี
ความ
เหมาะ
สมกับการ
ใช้
สั่ง
งาน
การ
คำนวณ
ทางคณิต
ศาสตร์
และ
วิทยา
ศาสตร์ บาง
ภาษา
มี
ความ
เหมาะ
สม
ไว้
ใช้
สั่ง
งาน
ทางด้าน
การ
จัด
การ
ข้อ
มูล
ใน
การ
ทำ
งาน
ของ
คอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์
จะ
แปล
ภาษา
ระดับ
สูง
ให้
เป็น
ภาษาเครื่อง ดัง
นั้น
จึง
มี
ผู้
พัฒนา
โปรแกรม
คอมพิวเตอร์
สำหรับ
แปล
ภาษา
คอมพิวเตอร์
ระดับ
สูง
ให้
เป็น
ภาษ
าเครื่อง โปรแกรม
ที่
ใช้
แปล
ภาษา
คอมพิวเตอร์
ระดับ
สูง
ให้
เป็น
ภาษาเครื่องเรียก
ว่า คอมไพ
เลอร์ (compiler) หรืออินเทอร์พรีเตอร์ (interpreter)
คอมไพ
เลอร์จะ
ทำ
การ
แปล
โปรแกรม
ที่
เขียน
เป็น
ภาษา
ระดับ
สูง
ทั้ง
โปรแกรม
ให้
เป็น
ภาษาเครื่อ
งก่อน แล้ว
จึง
ให้
คอมพิวเตอร์
ทำ
งาน
ตาม
ภาษาเครื่องนั้น
ส่วนอินเทอร์พรีเตอร์จะ
ทำ
การ
แปล
ที
ละ
คำ
สั่ง แล้ว
ให้
คอมพิวเตอร์
ทำ
ตาม
คำ
สั่ง
นั้น เมื่อ
ทำ
เสร็จ
แล้ว
จึง
มา
ทำ
การ
แปล
คำ
สั่ง
ลำ
ดับ
ต่อ
ไป ข้อ
แตก
ต่าง
ระหว่าง
คอมไพ
เลอร์กับอินเทอร์พรีเตอร์จึง
อยู่
ที่
การ
แปล
ทั้ง
โปรแกรม
หรือ
แปล
ที
ละ
คำ
สั่ง ตัว
แปล
ภาษา
ที่
รู้
จัก
กัน
ดี เช่น ตัว
แปล
ภาษาเบสิก ตัว
แปล
ภาษา
โค
บอล
ซอฟต์แวร์หรือ
โปรแกรม
คอมพิวเตอร์
จึง
เป็น
ส่วน
สำคัญ
ที่
ควบ
คุม
การ
ทำ
งาน
ของ
คอมพิวเตอร์ใ
ห้ดำ
เนิน
การ
ตาม
แนว
ความ
คิด
ที่
ได้
กำหนด
ไว้
ล่วง
หน้า
แล้ว คอมพิวเตอร์
ต้อง
ทำ
งาน
ตาม
โปรแกรม
เท่า
นั้น ไม่
สามารถ
ทำ
งาน
ที่
นอก
เหนือ
จาก
ที่
กำหนด
ไว้
ใน
โปรแกรม
ที่มา http://web.ku.ac.th/schoolnet/snet1/software/software/
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น
บทความใหม่กว่า
หน้าแรก
สมัครสมาชิก:
ส่งความคิดเห็น (Atom)
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น